Strategy development for learning organization of Subdistrict Administrative Organization in Kamphaeng Phet province / กลยุทธ์การพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ขององค์การบริหารส่วนตาบลในเขตจังหวัดกาแพงเพชร

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

Samita Akkawong / สมิตา อรรควงษ์

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลยุทธ์การพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ขององค์การบริหารส่วนตาบลในเขตจังหวัดกาแพงเพชร ดาเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) ศึกษาสภาพ ปัญหาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ 1.1) การใช้แบบสอบถาม เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 383 คน ประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนตาบล ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตาบล และพนักงานส่วนตาบล 1.2) การสัมภาษณ์ แหล่งข้อมูล จานวน 25 คนประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนตาบล ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตาบล และพนักงานส่วนตาบล 2) พัฒนากลยุทธ์การพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ 2.1) การศึกษาแนวทางการพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ของหน่วยงานที่ประสบความสาเร็จ จานวน 3 หน่วยงาน โดยการสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูล รวมจานวน 6 คน 2.2) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก(SWOT Analysis) โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 ผู้ให้ข้อมูล จานวน 25 คน 2.3) การยกร่างกลยุทธ์การพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 ผู้ให้ข้อมูล จานวน 18 คน 2.4) การตรวจสอบร่างกลยุทธ์การพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ โดยการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 9 คน 3) ประเมินกลยุทธ์การพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ที่พัฒนาขึ้นในด้านความสอดคล้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ โดยใช้แบบประเมิน ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 21 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา


ผลการวิจัย พบว่า
1. สภาพความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ พบว่า มีการสนับสนุนให้บุคลากรทุกฝ่ายได้เรียนรู้และพัฒนาตนเอง และมีระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาช่วยในการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน ปัญหาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ พบว่า ขาดการสื่อสารวิสัยทัศน์ให้บุคลากรใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อองค์การและขาดการพัฒนาทักษะการทางานเป็นทีม และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ พบว่า ปัจจัยภายใน 6 ปัจจัย ประกอบด้วย ด้านภาวะผู้นา ด้านบรรยากาศองค์การ ด้านการสื่อสาร ด้านการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ ด้านการติดตามประเมินผล และด้านการจูงใจ และปัจจัยภายนอก 4 ปัจจัย ประกอบด้วย ด้านการเมืองและกฎหมาย ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม และด้านเทคโนโลยี อยู่ในระดับมาก
2. กลยุทธ์การพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ขององค์การบริหารส่วนตาบลในเขตจังหวัดกาแพงเพชร วิสัยทัศน์ คือ องค์การบริหารส่วนตาบลเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย 5 พันธกิจ 5 ประเด็นกลยุทธ์ 5 เป้าประสงค์ 9 กลยุทธ์ 12 ตัวชี้วัด และ 49 มาตรการ ประกอบด้วยกลยุทธ์ดังนี้ 1) สร้างวิสัยทัศน์ร่วมและสื่อสารความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ให้บุคลากรปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกันทั้งองค์การ 2) พัฒนาโครงสร้างองค์การและระบบกลไกการบริหารงานให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของบุคลากร 3) สร้างวัฒนธรรมในการเรียนรู้และการเรียนรู้ร่วมกันทั่วทั้งองค์การ 4) สร้างการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องให้บุคลากรทุก


ระดับทั่วทั้งองค์การ 5) พัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ที่สามารถนาความรู้มาพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ 6) สนับสนุนให้มีการระดมความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนาองค์การ 7) พัฒนาความรู้และทักษะในการจัดการความรู้ให้กับบุคลากรในองค์การ 8) พัฒนาระบบการจัดการความรู้ขององค์การเพื่อเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และ9) พัฒนาระบบและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เอื้อต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
3. ผลการประเมินกลยุทธ์การพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ขององค์การบริหารส่วนตาบลในเขตจังหวัดกาแพงเพชร พบว่า วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นกลยุทธ์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดและมาตรการ มีความสอดคล้องกัน อยู่ในระดับมากที่สุด ความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมากและระดับมากที่สุด



คำสำคัญ: กลยุทธ์ องค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การบริหารส่วนตำบล


 


The purpose of this research was to develop strategy development for learning organization of Subdistrict Administrative Organization in Kamphaeng Phet province. Procedures were in 3 steps. 1) To study conditions, problems of learning organization and factors related with development of learning organization. 1.1) Questionnaires were used to collect data from 383 sampling including chief executive of SAO, chairman of SAO and government officer of SAO. 1.2) Interviewing 25 experts, consisting of chief executive of SAO, chairman of SAO, government officer of SAO. 2) To develop the strategies for development of learning organization. 2.1) Studying best practice learning organization of 3 organization by Interviewing 6 experts 2.2) SWOT analysis by workshop 1 with 25 experts. 2.3) Strategic development by workshop 2 with 18 experts. 2.4) Assessing the accuracy of strategies by connoisseurship with 9 experts. 3) To evaluate strategies for development of learning organization consistency, propriety, feasibility, and utility by 21 experts. Data was analyzed frequency, percentage, mean, standard deviation and content analysis. The research findings were as follows:


1. The conditions of learning organization were learning, all personnel were encouraged to learn and improve themselves with modern information technology systems to assist in learning and performance. Problems of learning organization were found that lack of communication visions to personals adopted into practice to achieve organization and development skills to work as a team. Factors related with development of learning organization of SAO in Kamphaeng Phet province found 6 internal factors were as follows: leadership, organization climate, communication, quality of administration, evaluation and motivation. 4 external factors were political and law, economy, social and culture and technology were at the high levels.
2. The strategies for development of learning organization of SAO in Kamphaeng Phet province. The vision, Subdistrict Administrative Organization is developed to learning organization for sustainable development consisted of 5 missions, 5 strategic Issues, 5 goals, 9 strategies, 12 indicators, and 49 measures. The 9 strategies consisted of 1) Create and communicate shared vision of learning organization, personnels to follow the same direction of organization. 2) Develope organizational structures and administrative mechanisms system, facilitate the learning of personals. 3) Create cultural learning and shared learning throughout the organization. 4) Create continue learning to personals at all level of organization. 5) Develop human resources to personals who can contribute to achieve organizational goals. 6) Supports brainstorming and knowledge sharing between personals, the client and stakeholders to develop the organization. 7) Improve knowledge and skills to knowledge management to personals. 8) Develop the knowledge management system of organization to learning organization. 9) Develop system and raise to use the information technology for support learning organization.
3. The result of evaluation strategies for development of learning organization of SAO in Kamphaeng Phet province was found that a vision, missions, strategic issues, goals, strategies, indicators and measures had consistency at the highest levels, propriety, feasibility and utility were at the high and the highest levels.



Keywords: strategy, learning organization, Subdistrict Administrative Organization: SAO


Keywords
กลยุทธ์ องค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การบริหารส่วนตำบล strategy, learning organization, Subdistrict Administrative Organization: SAO
Section
Humanities and Social Sciences

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

How to Cite
สมิตา อรรควงษ์, Samita Akkawong /. Strategy development for learning organization of Subdistrict Administrative Organization in Kamphaeng Phet province / กลยุทธ์การพัฒนาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ขององค์การบริหารส่วนตาบลในเขตจังหวัดกาแพงเพชร. Naresuan University Journal: Science and Technology (NUJST), [S.l.], v. 21, n. 2, p. 93-110, july 2014. ISSN 2539-553X. Available at: <https://www.journal.nu.ac.th/NUJST/article/view/492>. Date accessed: 29 mar. 2024.