การดำเนินเรื่องที่แตกต่างกันในการผลิตรายการวีดิทัศน์ต่อการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ Continuity Different of Video Programs on Sufficiency Economy Philosophy Learning by Farmers in Chiang Mai Province

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

Piya Palapunya ปิยะ พละปัญญา Wallratat Intaruccomporn วรทัศน์ อินทรัคคัมพร

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของเกษตรกรจากการชมรายการวิดีทัศน์ที่ใช้รูปแบบในการผลิตที่แตกต่างกัน 3 แบบ คือ 1) รายการวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ 2) รายการวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ + ภาพวาดประกอบ (Graphic) 3) รายการวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ + ภาพเคลื่อนไหวหยุดเป็นภาพนิ่ง


การวิจัยใช้การทดลองแบบ Randomized Pretest-Posttest Control Group Design
กลุ่มตัวอย่างการวิจัยคือเกษตรกรคือ เกษตรกรซึ่งเป็นตัวแทนครัวเรือนเกษตร ในจังหวัดเชียงใหม่ในพื้นที่ 24 อาเภอ ซึ่งเป็นตัวแทนครัวเรือนจากครัวเรือนทั้งหมด 168,090 ครัวเรือน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) จานวน 120 ครัวเรือน แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 30 ครัวเรือน
กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุม (ไม่ได้รับชมรายการวีดิทัศน์)
กลุ่มที่ 2 เรียนรู้จากรายการวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ
กลุ่มที่ 3 เรียนรู้จากรายการวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ + ภาพวาดประกอบ (Graphic)
กลุ่มที่ 4 เรียนจากรายการวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ + ภาพเคลื่อนไหวหยุดเป็นภาพนิ่ง
เนื้อหาที่ใช้สร้างบทรายการวีดิทัศน์คือเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียงจากแนวคิดสู่การปฏิบัติ” รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และแบบทดสอบ จากนั้นจึงนาข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test, F-test และ Least Significant Difference (LSD)
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ผลการเรียนรู้ของเกษตรกรหลังชมรายการวิดีทัศน์ทั้ง 3 กลุ่มสูงกว่าก่อนชมอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ ส่วนในกลุ่มควบคุมผลการเรียนรู้ก่อนและหลังไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
2. ผลการเรียนรู้ของเกษตรกรหลังชมรายการวิดีทัศน์ทั้ง 3 กลุ่ม แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ โดยพบว่าเกษตรกรที่เรียนจากเรียนจากวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ + ภาพเคลื่อนไหวหยุดเป็นภาพนิ่ง มีผลการเรียนรู้สูงสุด รองลงมาคือจากรายการวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ + ภาพวาดประกอบ (Graphic) ขณะที่ รายการวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ มีผลการเรียนรู้ต่าสุด และเมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยทีละคู่ ผลปรากฏว่า
2.1 กลุ่มวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ + ภาพวาดประกอบ (Graphic) มีผลการเรียนรู้สูงกว่ากลุ่มวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
2.2 กลุ่มวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ + ภาพเคลื่อนไหวหยุดเป็นภาพนิ่งมีผลการเรียนรู้สูงกว่ากลุ่มวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ อย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01
2.3 กลุ่มวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ + ภาพเคลื่อนไหวหยุดเป็นภาพนิ่งมีผลการเรียนรู้สูงกว่ากลุ่มวีดิทัศน์ที่มีการดาเนินเรื่องขั้นตอนปกติ + ภาพวาดประกอบ (Graphic) อย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01



คำสำคัญ: วีดิทัศน์, การเรียนรู้, เกษตรกร, ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


 


     This study was conducted to compare learning achievement of farmers watching VDO produced in 3 different forms: 1) a VDO program having normal continuity; 2) a VDO program having normal continuity with graphic; and 3) a VDO program having normal continuity with motive pictures which can be stopped as pictures.  Randomized pretest-posttest control group design was used in this study.  The sample groups in this study were farmers representing 168,090 agricultural households in Chiang Mai province obtained by multi-stage random sampling.  They were sorted into 4 groups, 30 agricultural households each: 1) group 1 – control group (did not watch the VDO); 2) group 2 – learning through the VDO having normal continuity; 3) group 3 – learning through the VDO having normal continuity with graphic; and 4) group 4 – learning through VDO having normal continuity with motive pictures which can be stopped as pictures.  The VDO program title was “Sufficiency Economy: From Concepts to Practice.”  An interview schedule and a test paper were used for data collection.  Obtained data were analyzed for finding percentage, mean and standard deviation.  Besides, t-test, F-test, and least significant difference were used in this study.  Results of the study were as follow:


     1.   There was a statistical significant difference of learning achievement between before and after watching the VDO of the 3 groups that was they obtained a higher score after watching the VDO.  For the control group, however, there was no statistical difference of the score. 


     2. There was a statistically significant difference of learning achievement after watching the VDO among the 3 groups.  It was found that the farmers learning through the VDO having normal continuity with motive pictures which can be stopped obtained a highest score.  This was followed by the farmers learning through the VDO having normal continuity with graphic.  The farmers learning through the VDO having normal continuity obtained a lowest score.  Findings of the study also showed the following:


          2.1 The farmers learning through the VDO having normal continuity with graphic obtained a higher score than that of the farmers learning through the VDO having normal continuity with a significance level at 0.05.


          2.2 The farmers learning through the VDO having normal continuity with motive pictures which can be stopped obtained a higher score than that of the formers learning through the VDO having normal continuity with a significance level at 0.01.


          2.3 The farmers learning through the VDO having normal continuity with motive pictures which can be stopped obtained a higher score than that of the farmers learning through the VDO having normal continuity with graphic with a significance level at 0.01.


 


Keywords:  VDO program, learning, farmers, Sufficiency Economy Philosophy


Keywords
วีดิทัศน์, การเรียนรู้, เกษตรกร, ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง VDO program, learning, farmers, Sufficiency Economy Philosophy
Section
Humanities and Social Sciences

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

How to Cite
ปิยะ พละปัญญา, Piya Palapunya; วรทัศน์ อินทรัคคัมพร, Wallratat Intaruccomporn. การดำเนินเรื่องที่แตกต่างกันในการผลิตรายการวีดิทัศน์ต่อการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่. Naresuan University Journal: Science and Technology (NUJST), [S.l.], v. 21, n. 2, p. 85-92, july 2014. ISSN 2539-553X. Available at: <https://www.journal.nu.ac.th/NUJST/article/view/491>. Date accessed: 18 apr. 2024.