A Management Model for becoming a Learning Organization of Southeast Bangkok College / รูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

Roumporn Thongrassamee, Jaruwan Skulkhu, Annop Photisuk and Chatupol / รวมพร ทองรัศมี, จารุวรรณ สกุลคู, อรรณพ โพธิสุข และจตุพล ยงศร

Abstract

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารจัดการเพื่อการเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก และ 3) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารจดั การเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ บุคลากรวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จำนวน 110 คน ผ้ทูรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และ ผู้บริหารวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกจำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามเพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกแบบสอบถามเพื่อประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก และแบบสัมภาษณ์สำหรับการสนทนากลุ่มเพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก โดยมีขั้นตอนการศึกษา คือ 1) การศึกษาสภาพการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จากกลุ่มตัวอย่าง 110 คน 2) การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก โดยการวิเคราะห์ปัจจัยจากกลุ่มตัวอย่าง 110 คน เพื่อนามาสร้างร่างรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก จากนั้นนาผลการศึกษาในขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 ร่วมสร้างแบบสัมภาษณ์สา หรับการสนทนากลุ่มจากผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน เพื่อยืนยันรูปแบบการบริหารจัดการที่สร้างขึ้น 3) การประเมินผลความเหมาะสมของรูปแบบที่สร้างขึ้นจากกลุ่มตัวอย่าง 24 คน สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ปัจจัย และ ค่าสหสัมพันธ์ ได้ผลการวิจัย ดังนี้
1. สภาพการบริหารจัดการเพื่อการเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.62, S.D.=0.56) เมื่อพิจารณาด้านองค์การ พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง ( x =3.43, S.D.=0.64) และพิจารณาด้านบุคลากร พบว่า อย่ใู นระดับมาก ( x =3.81, S.D.=0.61)
2. รูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอกพบว่าประกอบด้วย 7 ปัจจัยหลักที่สนับสนุนการบริหารจัดการเพื่อการเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ คือ 1) ปัจจัยการมีวิสัยทัศน์ 2) ปัจจัยกลยุทธ์และนโยบายในการทำงาน 3) ปัจจัยโครงสร้างและภาระงาน 4) ปัจจัยระบบแบบแผนการคิด แก้ปัญหาเพื่อการบริหารและการปฏิบัติการ 5) ปัจจัยระบบการบริหารงาน 6) ปัจจัยประวัติความเป็นมา ความรู้พื้นฐาน ความเชี่ยวชาญและความชา นาญ และ 7) ปัจจัยการเป็นที่ยอมรับและความสามารถทา งานร่วมกัน
3. การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก ( x =4.33, S.D.=0.56)


คำสำคัญ: การบริหารจัดการ องค์การแห่งการเรียนรู้ การคิดเชิงระบบ

The purposes of this research were 1) to study current conditions of learning organization 2) to develop the management model for learning organization of Southeast Bangkok College and 3) to evaluate the suitable management model for learning organization of Southeast Bangkok College. Three groups of samples were proposed for analysis: A total of 110 employees, 9 experts and 24 administrators from Southeast Bangkok College. Tools used in this study was carried out with questionnaires in order to study current conditions of learning organization for 110 employees and to evaluate suitability of management model for learning organization for 24 administrators. An interview model created for group discussion was made for 9 experts to improve management for learning of Southeast Bangkok College. The statistics used for analyzing data were percentage, means, standard deviation, one sample t-test, factor analysis, and correlation. The results of this study were found that:
1. The current conditions of learning organization of Southeast Bangkok College were at a high level ( x =3.62, S.D.=0.56), which was at a moderate level ( x =3.43, S.D.=0.64), considered as an organization, and was at a high level
( x =3.81, S.D.=0.61), when considered as the personnel.
2. The management model for becoming a learning organization consisted of 7 main factors: 1) vision 2) strategy and policy 3) structure and job description 4) Systems thinking 5) administrative system 6) personal background and 7) team
working.
3. The evaluation regarding the suitability of the management model for learning organization of Southeast Bangkok College was at a high level ( x =4.33, S.D.=0.56).


Keywords: Management, Learning Organization, Systems Thinking

 

 


Keywords
การบริหารจัดการ องค์การแห่งการเรียนรู้ การคิดเชิงระบบ Management, Learning Organization, Systems Thinking
Section
Research Articles

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

How to Cite
ANNOP PHOTISUK AND CHATUPOL / รวมพร ทองรัศมี, จารุวรรณ สกุลคู, อรรณพ โพธิสุข และจตุพล ยงศร, Roumporn Thongrassamee, Jaruwan Skulkhu,. A Management Model for becoming a Learning Organization of Southeast Bangkok College / รูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), [S.l.], v. 7, n. 1, p. 89-106, dec. 2014. ISSN 2985-0231. Available at: <https://www.journal.nu.ac.th/JCDR/article/view/967>. Date accessed: 14 sep. 2024.