Studying of Philosophy of Sufficiency Economy Perception and Happiness in Workplace of Community Enterprise the Case of Baan Mae Pu-Kha, Aumphur San Kam Pang, ChiangMai Province / พฤติกรรมการรับรู้เศรษฐกิจพอเพียงและความสุขในการทำงานของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์บ้านแม่ปูคา อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

Pakphum Pakvipas and Ratthanan Pongwiritthon / ภาคภูมิ ภัควิภาส และรัฐนันท์ พงศ์วิริทธ์ิธร

Abstract

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและความสุขในการทำงานของกลุ่มสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนแม่ปูคา อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ การรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ สมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนแม่ปูคา อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอาศัยความน่าจะเป็น โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น จำนวน 55 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีทางสถิติและทดสอบสมมติฐาน (t-test) และ (ANOVA) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางการวิจัย ผลการวิจัย พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ซึ่งมีอายุมากกว่า 40 ปี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 15,000 บาท ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร พฤติกรรมการรับรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โ ด ย ภ า พ ร ว ม อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ค ว า ม ถี่ บ่ อ ย ค รั้ ง (x = 3.5475, S.D. = 0.47708) ไ ด้ แ ก่ ด้ า น ค ว า ม มี เห ตุ ผ ล (x = 3.9097, S.D. = 0.44157) ด้านความพอประมาณและการมีภูมิคุ้มกัน (x = 3.3750, S.D. = 0.64641), (x = 3.3576, S.D. = 0.85607) ความสุขในการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x = 3.6766, S.D. = 0.74204) ได้แก่ องค์ประกอบของความสุขในการทำงาน (x = 3.8083, S.D. = 0.87709) ด้านการเป็นที่ยอมรับ (x = 3.7969, S.D. = 0.63299) ด้านการติดต่อสัมพันธ์ด้านความรักในงาน (x = 3.6583, S.D. = 0.84547) และด้านความสำเร็จในงาน (x = 3.4427, S.D. = 0.92719) ซึ่งผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลจา แนกตาม เพศ อายุ เงินเดือน ประเภทวิสาหกิจชุมชนที่แตกต่างกันมีระดับความถี่ของพฤติกรรมการรับรู้เศรษฐกิจพอเพียงและระดับความคิดเห็นของความสุขในการทำ งานที่ไม่แตกต่างกันที่นัยสำคัญ 0.05


คำสำคัญ: พฤติกรรมการรับรู้ เศรษฐกิจพอเพียง ความสุขในการทำงาน วิสาหกิจชุมชน

Aims of this study were first to study perception behavior of utilizing Philosophy of Sufficiency Economy, and happiness in workplace of community enterprise the case of Baan Mae Pu-Kha, Aumphur San Kam Pang, ChiangMai Province. Questionnaire was used as a research tool to collect data. Population of this study were 55 members of respondents were selected for the study and stratified sampling techniques of probability sampling were adopted in the selection process. Descriptive analysis was adopted for analyze frequency, percentage, mean, Standard Deviation, and Hypothesis testing (t-test) and (ANOVA) with SPSS Program The result found that majority of respondents was female who was over 40 years old earned less than 15,000 baht per month.
Generally, types of community enterprise were agricultural. Regarding on perception behavior of utilizing Philosophy of Sufficiency Economy, the result shown that respondents always adapting Philosophy of Sufficiency Economy in daily life with average mean (x = 3.5475, S.D. = 0.47708) such as follows perspective of Reasonableness (x = 3.9097, S.D. = 0.44157). However, the perspectives of Sufficient and Immunity (x = 3.3750, S.D. = 0.64641) and (x = 3.3576, S.D. = 0.85607) respectively. In addition, in tern of happiness in workplace, result indicated that respondents gave a rate as much agreed on over all of happiness in work place with (x = 3.6766, S.D. = 0.74204) such as follows Being Accepted (x = 3.8083, S.D. =0.87709), Relationship in workplace (x = 3.7969, S.D. = 0.63299), Love in work (x = 3.6583, S.D. = 0.84547) and Being Success in Career (x = 3.4427, S.D. = 0.92719). Result of hypothesis testing indicated that there was no significant different between demographic information classify by gender, age, monthly income, and type of community enterprise towards perception behavior of utilizing Philosophy of Sufficiency Economy of community enterprise the case of Baan Mae Pu-Kha, Aumphur San Kam Pang, ChiangMai Province at 0.05 level. In addition, result of hypothesis testing also indicated that there was no significant difference between average mean of level of agreement of happiness in workplace and demographic information classified by gender, age, monthly income and types of community enterprise at 0.05 level.


Keywords: Perception behavior, Sufficiency Economy, Happiness in workplace, Community enterprise


Keywords
พฤติกรรมการรับรู้ เศรษฐกิจพอเพียง ความสุขในการทำงาน วิสาหกิจชุมชน Perception behavior, Sufficiency Economy, Happiness in workplace, Community enterprise
Section
Research Articles

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

How to Cite
PONGWIRITTHON / ภาคภูมิ ภัควิภาส และรัฐนันท์ พงศ์วิริทธ์ิธร, Pakphum Pakvipas and Ratthanan. Studying of Philosophy of Sufficiency Economy Perception and Happiness in Workplace of Community Enterprise the Case of Baan Mae Pu-Kha, Aumphur San Kam Pang, ChiangMai Province / พฤติกรรมการรับรู้เศรษฐกิจพอเพียงและความสุขในการทำงานของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์บ้านแม่ปูคา อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), [S.l.], v. 7, n. 1, p. 56-68, dec. 2014. ISSN 2985-0231. Available at: <https://www.journal.nu.ac.th/JCDR/article/view/964>. Date accessed: 09 sep. 2024.