The Development of Small- sized School according to Organizational Development Conceptual Framework: The Case Study of Banhuaygogpattana School / การพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กตามกรอบแนวคิดการพัฒนาองค์การ: กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยกอกพัฒนา
##plugins.themes.bootstrap3.article.main##
Abstract
การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียนบ้านห้วยกอกพัฒนา โดยใช้แนวคิดการพัฒนาองค์การระดับองค์การ ระดับกลุ่ม และระดับบุคคล แหล่งข้อมูล ได้แก่ เอกสารของโรงเรียนเกี่ยวกับแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ รายงานการประเมินตนเอง (SAR) และกลุ่มบุคคล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้นาชุมชน พระสงฆ์ คณะกรรมการสถานศึกษา ภารโรง ครู นักเรียนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกเอกสาร และแบบสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง และนามาทาการวิเคราะห์เนื้อหาตามประเด็นของการศึกษา แล้วทาการสรุปอุปนัย ผลการวิจัย พบว่า
ภาพรวมของโรงเรียนบ้านห้วยกอกพัฒนาตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านห้วยกอก ตาบลห้วยเฮี้ย อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก (จิ๋ว) ที่เป็นโรงเรียนพื้นที่พิเศษ มีภูเขาโอบล้อมและมีความยากลาบากในการคมนาคม ประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน โดยประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทานา ทาไร่ โรงเรียนมีบุคลากร จานวน 7 คน ปีการศึกษา 2555 มีนักเรียน จานวน 30 คน จัดการเรียน การสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึง ป.6 ตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นมาโรงเรียนบ้านห้วยกอกพัฒนา เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น
ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของโรงเรียน ตามแนวคิดการพัฒนาองค์การระดับองค์การ พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียนบ้านห้วยกอกพัฒนา เกี่ยวข้องกับ 3 ปัจจัยสาคัญ ได้แก่ 1) ปัจจัยเกี่ยวกับผู้บริหาร เป็นผู้มีภาวะผู้นา มีวิสัยทัศน์และอุดมการณ์ในการบริหารงาน 2) ปัจจัยภายนอก โดยชุมชน บ้านวัด และเครือข่ายภายนอกมาร่วมพัฒนาโรงเรียนและ 3) ปัจจัยภายใน ที่มีฝ่ายบุคลากรมีครูจิตอาสาช่วยสอน มีการระดมทุนจากชาวบ้านช่วยกิจกรรมของโรงเรียน ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของโรงเรียน ตามแนวคิดการพัฒนาระดับกลุ่ม มิติของการสร้างทีมงาน โรงเรียนเน้นการพัฒนาโดยมีบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องจากบ้าน วัด โรงเรียน (บวร) มีส่วนร่วมในการพัฒนาคน พัฒนางาน และสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของชุมชน โดยใช้การประชุมปรึกษาหารือกันที่เป็นและไม่เป็นทางการ โดยการกาหนดบทบาทหน้าที่ ตามความสมัครใจ ความสามารถ มิติของภาวะผู้นา ผู้อานวยการโรงเรียนได้รับ การยอมรับจากชุมชนว่า เป็นผู้บริหารที่มีความรู้ความสามารถ ประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ใช้หลักการบริหารแบบชุมชนมีส่วนร่วม (CBM) สามารถวางแผนงาน วางแผนคน ประสานการทางานร่วมกับบุคลากรในโรงเรียน วัด ชุมชน และเครือข่ายภายนอกได้เป็นอย่างดี ผลการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของโรงเรียน ตามแนวคิดการพัฒนาระดับบุคคล มิติความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ผู้อานวยการโรงเรียนจบการศึกษาระดับปริญญาเอก การบริหารโรงเรียนนี้ จึงเป็นการพิสูจน์ความมุ่งมั่น ตั้งใจและอุดมการณ์ ที่จะใช้ความรู้ความสามารพัฒนาโรงเรียนในมิติที่แตกต่างจากโรงเรียนขนาดเล็กอื่นๆ ให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ครูผู้สอน ที่เป็นราชการ 1 คน มีความพยายามจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนจึงเกิดประโยชน์กับผู้เรียน กาลังเสนอการทาวิทยฐานะชานาญการพิเศษ (คศ.3) โดยการส่งเสริมจากผู้อานวยการโรงเรียน สาหรับครูอัตราจ้าง 2 คนและครูธุรการ 1 คน เป็นผู้มีความมุ่งมั่นที่ต้องการเรียนรู้ประสบการณ์เพื่อเตรียมการไปสอบเป็นราชการครูในอนาคต นักการภารโรงมีบทบาทในการสร้างภูมิให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ส่วนครูอาสาสอน เป็นผู้ปกครองนักเรียนที่มีประสบการณ์ อาสามาสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์และพลศึกษา โดยไม่รับค่าตอบแทน เพราะมีแรงบันดาลใจและมีจิตสาธารณะ
มิติการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพชีวิต ผู้อานวยการโรงเรียนมีมุมมองเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่มากกว่าตัวเงินที่ได้รับในแง่ของความสุขใจภูมิใจที่ได้ทาในสิ่งที่มีประโยชน์และมีความหมายกับส่วนรวม สาหรับคุณภาพชีวิตของบุคลากรทางการศึกษา โดยภาพรวม ส่วนใหญ่เป็นคนในพื้นที่ คุณภาพชีวิตในการดาเนินงานและวิถีชีวิตในความเป็นอยู่จึงเป็นไปอย่างเรียบง่ายโดยมีค่าตอบแทนให้ในระดับความพึงพอใจของตนเอง
คำสำคัญ: การพัฒนาองค์การ โรงเรียนขนาดเล็ก
This research aimed to study and analyze the change of Banhuaygogpattana school using the concept of organizational development at the organizational system level, group level, and individual level. The data sources were school documents including the strategic plans, action plans, and self-assessment report (SAR) and participants including the school administrator, community leader, monk, school committees, janitor, teachers, students, and networks. The research instruments consisted of researcher notes and interview. The data were analyzed through content analysis method and the conclusion was reached through inductive method. The results were shown as follows.
In overall image, Banhuaygogpattana School is located at Moo. 1, Banhuaygog, Tambon, Huayhea, Amphoe Nakornthai, Pitsanulok. This school is a small sized-school. It is also a sensitive area school which is surrounded by mountains and has many difficulties in transportation. Most people in this area are poor and they generally are agriculturists. In the 2012 academic year, there were 7 personnel and 30 students from kindergarten through grade 6 in the school. Banhuaygogpattana School has changed in a positive direction since 2012.
The analysis of the change in this school according to the concept of organizational development at organizational system level indicated that there were 3 key factors that related to the change in this school including: 1) factors relating to the administrator including leadership, having vision and ideology in administration 2) external factors including collaboration among people for developing the school from the community, temple and external network and 3) internal factors including personnel who had public mind in teaching and communicated with the villagers for donations or participation with the school. The analysis of the change in this school according to the concept of organizational development at group level revealed two dimensions for the change. The first dimension is building teamwork. This school focused on collaborative development with people from the community, temple and school through both formal and informal meetings. These people chose their roles freely according to their abilities. The second dimension is leadership. The school administrator was respected by the community as a knowledgeable person. His practices were used as an example for the community based management (CBM) model. He was excellent in planning the processes of school development and communication with personnel in the school, people from temple and community and external networks for encouraging them to participate in the school development processes. The analysis of the change in this school according to the concept of organizational development at individual level revealed two dimensions for the change. The first dimension is professional advancement. The school administrator obtained a doctoral degree. The success of his school administration has shown that he has strong intention to apply his knowledge and abilities in order to have sustainable development in his school which is different from the other small sized-schools. One teacher in this school put strong effort in learning management, and she is being the process of asking for a senior professional level qualification teacher position with the supported by school administrator. The two temporary teachers and one clerk teacher are willing to study and gain more experience in order to be in-service teachers in the future. The janitor had an important role of creating suitable environment for learning. Due to their inspiration and public mind, the parents of the students volunteered to teach computer and physical education subjects without receiving wages. Another dimension is changing the quality of life. The school administrator viewed that the quality of life was related to the happy feeling when doing things that are useful and meaningful to the society. The quality of life for education personnel, in the overall image, most of them were local people so that their quality of life in working and living are simple and they were pleased with their earning income.
Keywords: Organization Development, Small-sized School