Drop-Out in Higher Education: The Problem must be Concern and Solve / การออกกลางคันในระดับอุดมศึกษา: ปัญหาที่ต้องเร่งให้ความสนใจและแก้ไข

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

Chamnan Panawong / ชำนาญ ปาณาวงษ์

Abstract

การเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย มีวิธีการคัดเลือกทั้งแบบระบบรับตรงและระบบส่วนกลาง ซึ่งกว่าที่จะเข้าศึกษาต่อได้นั้น ต้องสูญเสียทั้งเวลาและทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก แต่เมื่อนิสิตได้เข้ามาศึกษาแล้วยังมีบางส่วนต้องออกจากระบบการศึกษาไป ซึ่งเราเรียกว่า “การออกกลางคัน” นับเป็นการสูญเปล่าทางการศึกษา โดยการออกกลางคันนี้เป็นปัญหาหนึ่งของการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
มีสาเหตุมาจาก 2 ปัจจัยหลัก ได้แก่ 1) คุณลักษณะส่วนบุคคลของนิสิต ได้แก่ ความรับผิดชอบ สุขภาพ ความสัมพันธ์ในครอบครัวของนิสิต สถานะทางเศรษฐกิจ ผลการเรียนเดิม และการตัดสินใจเลือกคณะที่ศึกษาต่อ 2) คุณลักษณะภายนอกที่เกี่ยวข้องกับนิสิต ได้แก่ การจัดการศึกษาของสถาบันการศึกษา อาจารย์ผู้สอน อาจารย์แนะแนว และอาจารย์ประจำชั้น

 

คำสำคัญ: การออกกลางคัน  การสูญเปล่าทางการศึกษา  อุดมศึกษา

 

Method to entrance in higher education have Central university admissions system and Direct system. It is difficult to entrance But someone get out before success, “Drop out”. There have two main causes are 1) Personalities of student are responsibility, health, relationship in family, economic, achievement and decision to study. 2) Environment of student are education administration teacher-counselor and class teacher.

 

Keywords: Drop-Out, Education Wastage, Higher Education


Keywords
การออกกลางคัน, การสูญเปล่าทางการศึกษา, อุดมศึกษา, Drop-Out, Education Wastage, Higher Education
Section
Review Articles

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

How to Cite
ชำนาญ ปาณาวงษ์, Chamnan Panawong /. Drop-Out in Higher Education: The Problem must be Concern and Solve / การออกกลางคันในระดับอุดมศึกษา: ปัญหาที่ต้องเร่งให้ความสนใจและแก้ไข. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), [S.l.], v. 8, n. 2, p. 1-7, aug. 2015. ISSN 2985-0231. Available at: <https://www.journal.nu.ac.th/JCDR/article/view/1018>. Date accessed: 27 apr. 2024. doi: https://doi.org/10.14456/jcdr.v8i2.1018.