ตัวแบบเชิงสถิติเพื่อพยากรณ์ปริมาณน้าฝนของจังหวัดนครราชสีมา Statistical Model for Forecasting Rain Fall in Nakhon Ratchasima Province

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

Nop Sopipan

Abstract

        การวิจัยนี้เป็นการศึกษาปริมาณน้าฝน โดยใช้อนุกรมเวลาสาหรับสถานีตรวจสอบสภาพอากาศ จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ซึ่งใช้วิธีการทางสถิติที่หลากหลายเพื่อให้สามารถวิเคราะห์ปริมาณน้าฝนในพื้นที่ที่ทาการศึกษาได้ โดย้้อมูลที่ใช้ในการศึกษา คือ ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยต่อเดือน ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ.2548 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 ้้อมูลดังกล่าวได้ถูกจัดเก็บโดยศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง กรมชลประทาน วิธี้องบอกซ์และเจนกินส์ และวิธีการพยากรณ์้องวินเตอร์ถูกสร้างึ้้นจากพื้นฐาน้องวิธีการปรับให้เรียบแบบเอกซ์โปเนนเชียล ซึ่งตัวแบบทุกตัวพิจารณาแล้วมีความเพียงพอต่อการนามาใช้ในการวิจัย ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่จะเผยแพร่้้อมูลเพื่อช่วยให้ผู้ที่มีอานาจในการตัดสินใจ นา้้อมูลไปใช้ในการสร้างกลยุทธ์การวางแผนที่เหมาะสมในด้านการเกษตรกรรม ระบบการระบายน้าและการใช้ทรัพยากรน้าอื่นๆ ในจังหวัดนครราชสีมา โดยผลการพยากรณ์ ที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด ได้แก่ การพยากรณ์ด้วยตัวแบบ ARIMA(1,0,1)(1,0,1)12.


คำสำคัญ: พยากรณ์ปริมาณน้าฝน วิธีการพยากรณ์้องวินเตอร์ วิธี้องบอกซ์และเจนกินส์


         In this paper, we study the rainfall using a time series for weather stations in Nakhon Ratchasima province in Thailand by various statistical methods to enable us to analyse the behaviour of rainfall in the study areas. The data used in the study was the average monthly rainfall from April 2005 - March 2013 collected by the Hydrology and Water Management Center for Lower Northeastern Region, Royal Irrigation Department. The Box-Jenkins and Winter’s forecasting models were built on the basis of exponential smoothing. All the models proved to be adequate. Therefore it is possible to give information that can help decision makers establish strategies for the proper planning of agriculture, drainage systems and other water resource applications in Nakhon Ratchasima province. We obtained the best performance from forecasting with the ARIMA(1,0,1)(1,0,1)12.


Keywords: Forecasting rainfall, Winter’s forecasting method, Box and Jenkins method.


Keywords
พยากรณ์ปริมาณน้าฝน วิธีการพยากรณ์้องวินเตอร์ วิธี้องบอกซ์และเจนกินส์ Forecasting rainfall, Winter’s forecasting method, Box and Jenkins method
Section
Research Articles

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

How to Cite
SOPIPAN, Nop. ตัวแบบเชิงสถิติเพื่อพยากรณ์ปริมาณน้าฝนของจังหวัดนครราชสีมา. Naresuan University Journal: Science and Technology (NUJST), [S.l.], v. 23, n. 2, p. 56-65, aug. 2015. ISSN 2539-553X. Available at: <https://www.journal.nu.ac.th/NUJST/article/view/992>. Date accessed: 26 apr. 2024.