การทดสอบผลผลิตก่อนการจำหน่ายข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ใหม่ในพื้นที่จังหวัดพะเยาและเชียงราย Pre-commercial Yield Trails of New Hybrid Varieties of Sweet Corn in Phayao and Chiang Rai Province, Thailand

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

Prasert Thala Chokechai Aekatasanawan Kitti Satjawattana

Abstract

        การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลผลิตข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ใหม่ก่อนการจาหน่าย เพื่อคัดเลือกข้าวโพดหวานลูกผสมที่ให้ผลผลิตและความหวานสูง สามารถปรับตัวได้ดีในจังหวัดพะเยาและเชียงราย นาข้าวโพดหวานลูกผสม 5 พันธุ์ที่ผ่านการทดสอบผลผลิตเบื้องต้นและพันธุ์เปรียบเทียบ 2 พันธุ์ได้แก่ Sugar 75 และ Hi-brix 53 ปลูกทดสอบ 2 พื้นที่ ณ แปลงเกษตรกรจังหวัดพะเยาและเชียงราย ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2555-มีนาคม 2556 วางแผนการทดลองแบบ Factorial in RCB มี 4 ซ้า ผลการวิจัยพบว่า วันสลัดละอองเกสร 50% วันออกไหม 50% และวันเก็บเกี่ยวพบว่า พันธุ์ KSSC 305 ให้ค่าเฉลี่ยสั้นที่สุด (61 66 และ 81 วัน) ตามลาดับ แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญกับพันธุ์ Hi-brix 53 (68 71 และ 93 วัน ตามลาดับ) พันธุ์ KSSC 316 KSSC 312 และ KSSC 309 ให้ความหวานเฉลี่ยสูงสุด (15.48 15.45 และ 15.45 %brix ตามลาดับ) สูงกว่าอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับพันธุ์เปรียบเทียบทั้ง 2 พันธุ์ (13.54 และ 12.46 % brix ตามลาดับ) ส่วนลักษณะทางคุณอาพของโรงงานพบว่า พันธุ์ KSSC 309 ให้น้าหนักฝักสดปอกเปลือกเฉลี่ยสูงสุด (1, 964.60 กก./ไร่) ไม่แตกต่างกับพันธุ์ Sugar 75 และ Hi-brix 53 (1,789.04 และ 1,875.15 กก./ไร่ ตามลาดับ) พันธุ์ KSSC 316 ให้เปอร์เซ็นต์กรีดเมล็ดดีหลังร่อนเฉลี่ยสูงสุด (89.05 %) สูงกว่าอย่างมีนัยสาคัญกับพันธุ์ Hi-brix 53 (78.39 %) โดยสรุปแล้วลูกผสมทั้ง 5 พันธุ์ให้ศักยอาพการผลิตของโรงงานแปรรูปสูงกว่าหรือไม่แตกต่างกับพันธุ์เปรียบเทียบทั้ง 2 พันธุ์


คำสำคัญ: ข้าวโพดหวาน พันธุ์ลูกผสม การทดสอบผลผลิต


        The experiments were carried out to pre-commercial yield trails of new hybrid varieties in order to select new hybrid varieties which high yield and high sweetness content which can adapt well in Phayao and Chiang Rai Province. Five hybrids were selected from the preliminary experiment and two checks entries, Sugar 75 and Hi-brix 53, were tested in two locations at farmers’ fields, Phayao and Chiang Rai province, between November-March in 2012-2013, using Factorial in Randomized Complete Block (Factorial in RCB) with four blocks. The result showed that, the day to 50% tasselling, day to 50% silking and harvesting, the hybrid KSSC 305 was shorter (61, 66 and 81 days, respectively) than the check, Hi-brix 53 (68, 71 and 93 days, respectively). Hybrids KSSC 316, KSSC 312 and KSSC 309 gave higher sweetness (15.48, 15.45 and 15.45 %brix, respectively) than the checks, Sugar 75 and Hi-brix 53 (13.54 and 12.46 % brix, respectively). For the quality traits required by processing factory, the hybrid KSSC 309 gave similar fresh ear weight (husked) (1,964 kg/rai.) for the checks, Sugar 75 and Hi-brix 53 (1,789 and 1,875 kg/rai. respectively), and the hybrid KSSC 316 gave higher good cut kernel weight percentage (89.05%) than the checks Hi-brix 53 (78.39%). In a process of factory’s quality is found that all of five hybrids gave higher or similar factory’s specification for the checks.


Keywords: Sweet corn, Hybrid varieties, Yield trials


Keywords
ข้าวโพดหวาน พันธุ์ลูกผสม การทดสอบผลผลิต Sweet corn, Hybrid varieties, Yield trials
Section
Research Articles

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

How to Cite
THALA, Prasert; AEKATASANAWAN, Chokechai; SATJAWATTANA, Kitti. การทดสอบผลผลิตก่อนการจำหน่ายข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ใหม่ในพื้นที่จังหวัดพะเยาและเชียงราย. Naresuan University Journal: Science and Technology (NUJST), [S.l.], v. 22, n. 3, p. 102-109, dec. 2014. ISSN 2539-553X. Available at: <https://www.journal.nu.ac.th/NUJST/article/view/772>. Date accessed: 25 apr. 2024.