%A นัฐฐา ทองช่วย, Nuttha Thongchuay / %D 2015 %T People Participation in Solid Waste Management Services in Tumbon Lankrabue Minicipal District, Kamphaeng Phet Province / การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร %K การมีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร เทศบาลตำบลลานกระบือ People Participation, Solid Waste Management, Lankrabue Municipal District %X การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมและปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรในเขตพื้นที่เทศบาลตาบลลานกระบือ จังหวัดกาแพงเพชร ผู้วิจัยเริ่มเก็บรวบรวมข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 1-30 มีนาคม 2557 โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณและระเบียบวิธีการวิจัย เชิงคุณภาพ ในส่วนของการวิจัยเชิงปริมาณดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างหัวหน้าครัวเรือน หรือผู้ที่เป็นตัวแทนของหัวหน้าครัวเรือนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป จานวน 340 ครัวเรือน ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (Statistical Package for Social Sciences) โดยใช้สถิติอัตราส่วนร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบระหว่างกลุ่มและการวิเคราะห์การผันแปรทางเดียว สาหรับการวิจัยเชิงคุณภาพผู้วิจัยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงเจาะลึก (In-depth Interview) ในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลหลัก จานวน 6 คน ทาการวิเคราะห์และสรุปเนื้อหาทั้งหมดร่วมกันกับผลการวิจัย เชิงปริมาณและรายงานผลโดยใช้วิธีการบรรยายเชิงพรรณนา (Descriptive Approach)   ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรในระดับน้อย ร้อยละ 84.52 โดยปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรที่ก่อให้เกิดความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 คือ เพศ รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ทัศนคติที่มีต่อการบริหารจัดการขยะมูลฝอย และความตระหนัก ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ในขณะที่ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรที่ก่อให้เกิดความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ สถานภาพสมรส และอาชีพ ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย คือ การขาดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากทางเทศบาล และแหล่งหรือช่องทางในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เข้าถึงกลุ่มประชาชนที่เป็นไปอย่างสะดวกยังไม่มีมากนัก ประชาชนยังไม่มีความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบ ครบวงจรอย่างแท้จริงว่า มีความสาคัญอย่างไรในการลดปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น แต่กลับทาให้เกิดความรู้ที่เน้นเรื่องการนาเอาขยะมูลฝอย ไปเพิ่มรายได้เท่านั้น ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย คือ ควรมีการเผยแพร่ความรู้เรื่องการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรที่มีประสิทธิภาพโดยใช้วิธีการแบบปากต่อปาก หรือการใช้บุคคลที่เป็นตัวแทนของภาครัฐ/ท้องถิ่นคอยสอดแทรกความรู้ในระหว่างที่มีการทากิจกรรมร่วมกัน เสริมสร้างทัศนคติที่ดีให้แก่ประชาชนด้วยการจัดกิจกรรมที่มีเป้าหมาย เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยโดยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับขยะมูลฝอย เพื่อทาให้เกิดการเรียนรู้ระบบและวิธีคิดด้วยตนเอง ซึ่งจะเป็นแรงกระตุ้นให้ประชาชนมีความตระหนักและเห็นถึงความสาคัญในการคัดแยกขยะมูลฝอย ซึ่งเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับขยะมูลฝอย ควรส่งเสริมและสนับสนุนประชาสัมพันธ์ให้แต่ละชุมชนนาเอาหลักการแนวคิดขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) ซึ่งเป็นการทาให้ขยะภายในชุมชนเหลือปริมาณน้อยที่สุดไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวัน คำสำคัญ: การมีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร เทศบาลตำบลลานกระบือ The objective of this research is the study of people participation in solid waste management services and study problems and obstacles of people participation in Tumbon Lankrabue Municipal District, Kamphaeng Phet Province through the application of both qualitative and quantitative research. The researchers began collecting data from 1-30 March 2557. The qualitative research used a questionnaire to gather data from 340 heads of households or representatives over 18 years old. Data was analyzed through Statistical Package for Social Sciences (SPSS) together with statistical methods such as mean, frequency, and standard deviation, as well as employing One - way Analysis of Variance and t- test. As for qualitative research, the in-depth interview was used to gather data from 6 key informants. Analyzing and summarizing all the content together with the results of quantitative research and reported using descriptive (Descriptive Approach). It was found that 84.52% of samples had a low level of participation in solid waste management, having a statistically significant difference of 0.001 from related factors, namely sex, average household income, knowledge, attitude and awareness on solid waste management, whereas marital status and occupation yielded a statistically significant difference of 0.05 Regarding problems and obstacles, it was found that the people had received inadequate information from the municipality or other sources, and didn’t understand solid waste management’s essential role in waste reduction, which made them participate less in helpful activities. On the contrary, they were only focused on making income supplement from waste. This research recommends the distribution of knowledge on effective solid waste management through word-of-mouth or government and local representatives. They must constantly emphasize the knowledge and enhance positive attitudes among the people while conducting activities which targeted waste reduction through the setup of waste banks, aiming for self-learning in the system. It would increase people’s awareness on the importance of sorting waste. Should be available to reduce waste volume and add value to waste as well as support the community ideas on zero waste, so in reality the community could practice reducing waste volume in their daily life. Keywords: People Participation, Solid Waste Management, Lankrabue Municipal District %U https://www.journal.nu.ac.th/JCDR/article/view/747 %J Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences) %0 Journal Article %P 47-68%V 7 %N 2 %@ 2985-0231