%A Syers / รัฐนันท์ พงศ์วิริทธ์ิธร และกัญญกาญจน์ ไซเออร์ส, Ratthanan Pongwiritthon and Kanyakan %D 2014 %T Purchasing Decision Making and Product Design of Traditional Lanna Rice Cracker to Meet the Needs of Customers: Tumbol Mae-Puka, Aumphur San - Kamphang, Chiang Mai / การตัดสินใจซื้อและรูปแบบลักษณะแบบผลิตภัณฑ์ข้าวแคบตามความต้องการของลูกค้า: ตำบลแม่ปูคา อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ %K การตัดสินใจซื้อ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ข้าวแคบ Purchasing Decision Making, Product Design, Traditional Lanna Rice Cracker %X ข้าวแคบ เป็นอาหารว่างชนิดหนึ่งที่มาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นประจาภาคเหนือที่มีชื่อเสียง มีจุดเด่น คือ เป็นอาหารว่างพื้นเมืองที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ ตลอดจนเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านในเรื่องของการถนอมอาหาร จึงเหมาะสมเป็นอย่างยิ่งสา หรับเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่สร้างรายได้ให้ครอบครัวและชุมชน และเพื่อเป็นการรักษาและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในปัจจุบันไม่สามารถพัฒนาให้ผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการ ของตลาด ดังนั้น การวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อทราบถึงพฤติกรรม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวแคบและการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับลูกค้า ตา บลแม่ปูคา อา เภอสันกา แพง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประชากรในการวิจัยคร้งั นี้ ได้แก่ กลุ่มลูกค้าที่อยู่ในอา เภอสันกา แพง จังหวัดเชียงใหม่ ที่บริโภคผลิตภัณฑ์ข้าวแคบ วิธีการคัดเลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช่ความน่าจะเป็น สุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มอย่างความสะดวกและวิธีการเลือกแบบเจาะจง จากกลุ่มลูกค้ าที่บริโภคผลิตภัณฑ์ข้าวแคบ จา นวน 200 ราย ผลการวิจัย พบว่า พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวแคบของลูกค้า ให้ความสา คัญกับปัจจัยด้านราคา ความถี่ในการซื้อข้าวแคบของ 1 เดือนต่อครั้ง ราคาของข้าวแคบต่อชิ้นไม่เกิน 10–30 บาท คนรู้จัก/ญาติมีผลต่อการตัดสินใจซื้อ โดยความต้องการส่วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจซื้อข้าวแคบ ในภาพรวมอยู่ในระดับค่อนข้างมาก ( x = 3.30, S.D. = 0.95) ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ (x= 3.58, S.D. = 1.11) ด้านราคา (x = 3.89, S.D. = 0.93) ด้านสถานที่และช่องทางการจัด จาหน่าย ( x = 3.09, S.D. = 0.87) และด้านการส่งเสริมการตลาด ( x = 2.65, S.D. = 0.90) การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ข้าวแคบ การตลาดมุ่งความต้องการของลูกค้าตามแบบของคาโนโมเดล โดยมุ่งเน้นที่จะพัฒนาที่สา คัญ ได้แก่ 1. มีกลิ่นดั้งเดิม 2. เป็ นแผ่นกลมแบน 3. แผ่นบาง 4. มีสีขาว แต่สิ่งที่ควรละเว้นในการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาด คือ แผ่นกลมขนาดใหญ่ หรือมีหลายขนาด การทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะทั่วไปของข้อมูลทั่วไปต่างกันจา แนกตามลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ มีต่อระดับความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดในการตัดสินใจซื้อข้าวแคบไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสา คัญ 0.05 คำสำคัญ: การตัดสินใจซื้อ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ข้าวแคบ Traditional Lanna rice cracker is one of the famous snacks from the local isdom of Northern Thai people. The outstanding feature of the traditional Lanna rice cracker is this native snack has existed for a long time as well as represents the wisdom in food preservation. It is particularly suitable to be a product of the community that generate income for the family and the community and to protect and conserve indigenous knowledge. Recently, the traditional Lanna rice cracker cannot develop to satisfy the requirement of the market. Therefore, this research aims to understand the behavior factors that influence traditional Lanna rice cracker purchasing decision making and product design that appropriate to customers of Tumbol Mae-Puka, Aumphur San-Kamphang, Chiang Mai. Questionnaires were used to collect data and the population of this study is customers in San-Kamphang, Chiang Mai who consume traditional Lanna rice cracker. Nonprobability Sampling, Convenience Sampling and Purposive Sampling methods were used to select 200 customers who consume traditional Lanna rice cracker. The results showed that buying behavior of customers on traditional Lanna rice cracker are focusing on the price factor, frequency of buying is once a month, price per piece is between 10-30 Thai Baht, an acquaintance or relative influence purchasing decision making. The needs of marketing mix on decision making to buy rice cracker in overall is in high level ( x = 3.30, S.D. = 0.95) which are in term of product ( x = 3.58, S.D. = 1.11), in term of price ( x = 3.89, S.D. = 0.93), in term of place and distribution channel ( x = 3.09, S.D. =0.87), and in term of promotion ( x = 2.65, S.D. = 0.90). For product design and development, it is important to focus on the needs of the customer according to Kano’s model which are 1. Smells as original cracker 2. The shape is flat and round 3. Thin 4.White color. By the way, the thing that should be disregarded in the development of the marketing mix is making the cracker in large round plate or various sizes. The hypothesis testing result that different general information on personal characteristics such as gender, age, education level and occupation reflect no different on the opinion of the marketing mix in decision making to buy rice cracker with significant level at 0.05. Keyword: Purchasing Decision Making, Product Design, Traditional Lanna Rice Cracker %U https://www.journal.nu.ac.th/JCDR/article/view/746 %J Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences) %0 Journal Article %P 35-46%V 7 %N 2 %@ 2985-0231 %8 2014-12-29