TY - JOUR AU - Unchalee Singnoi Wongwattana, อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา / PY - 2017 TI - ชาติพันธุ์ “ไทครั่ง” ภูมิภาคเหนือตอนล่าง: อัตลักษณ์และความหลากหลาย / “Tai Khrang” Ethnicity in the Lower Northern Region: Identity and Variety JF - Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences); Vol 10 No 2 (2560): April-June 2017 KW - ชาติพันธุ์ไทครั่ง ผ้าซิ่นตีนจกพื้นสีแดง ชื่อชาติพันธุ์ ระบบเสียงวรรณยุกต์; Tai Khrang Ethnicity, Teen Chok Sarong with the Red Lower Part, Ethnic Names, Tonal System N2 -      บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจแหล่งชุมชน/หมู่บ้านและศึกษาอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ “ไทครั่ง” ในภูมิภาคเหนือตอนล่าง ข้อมูลการวิจัยได้จากการสำรวจ การสัมภาษณ์เชิงลึก การซักข้อมูล การเข้าร่วมกิจกรรมและสังเกตการณ์ เอกสารท้องถิ่น และสื่อสังคมออนไลน์ ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์ “ไทครั่ง” ในภูมิภาคเหนือตอนล่างตั้งหลักแหล่งกระจัดกระจายกันไปมีไม่ต่ำกว่า 171 ชุมชน/หมู่บ้าน ในเขต 6 จังหวัด ได้แก่ กำแพงเพชร อุทัยธานี นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก และสุโขทัย กลุ่มชาติพันธุ์ “ไทครั่ง” มีอัตลักษณ์ที่เป็นการบูรณาการจากหลายลักษณะ ได้แก่ 1) ประวัติความเป็นมาจากเมืองหลวงพระบางและเวียงจันทน์ประเทศลาวประมาณ 200 กว่าปีมาแล้ว 2) ผ้าซิ่นตีนจกพื้นสีแดง 3) ชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่หลากหลาย และ 4) เสียงวรรณยุกต์      This research article aims to survey “Tai Khrang” communities/villages and seek for the identity of “Tai Khrang” ethnicity in the lower northern region. Research data was collected by surveying, in-dept interviewing, eliciting, participating & observing, as well as from local documents and social media. The result shows that there are, at least, in 171 communities/ villages located in 6 provinces: Kamphaeng Phet, Uthai Thani, Nakhon Sawan, Phichit, Phisanulok and Sukhothai. Its identity is found as the integration of various aspects such as 1) historical background from Luang Prabang and Vientiane about 200 years ago, 2) Teen Chok sarong with the red lower part, 3) various ethnic names and 4) tonal system.  UR - https://www.journal.nu.ac.th/JCDR/article/view/1825